内省
1. อ่านมาหลายรอบแล้ว เริ่มจำได้แล้วว่าเรื่องเป็นยั งไง และสามารถบอกรายละเอียดได้มากขึ ้น เพิ่มเติมเนื้อเรื่องให้มากกว่ าเดิม เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจง่าย
2.สังเกตตัวเองได้ชัดเจนว่าเริ่ มให้คำวิเศษณ์ จากที่ครั้งแรกไม่ได้ใช้เลยแม้ แต่คำเดียว เช่น はっきり、偶然、เป็นต้น ทำให้สามารถบอกได้ว่า เหตุการณ์นั้นและอากัปกิริยานั้ น มีสภาพอย่างไร แต่ก็ยังไม่ดีเท่าที่ควร
3.ก่อนที่จะทำนั้น ได้เรียนรู้เพิ่มขึ้นว่า ควรจะใช้ねมากขึ้น แต่พอพูดจริงๆก็กลัวว่าจะใช้ มากไป และไม่รู้ว่าหากใช้ไปแล้ว จะกลายเป็นฟุ่มเฟือยเกินไปหรื อเปล่า หรือว่า ใช้ไม่ตรงจุดประสงค์ เลยกังวลเล็กน้อยเวลาเล่าจะฟั งดูไม่เป็นธรรมชาติ เหมือนเจาะจงว่า ชั้นต้องพูดนะ
4.ครั้งที่สองไม่เห็นภาพ เลยบรรยายตามที่จำได พอครั้งนี้เห็นภาพไปด้วย บรรยายไปด้วย เห็นได้ชัดเจนว่า พูดช้าลง และคิดก่อนว่า จะเริ่มบรรยายจากตรงไหนดี แม้จะทำมาสองรอบแล้ว แต่ก็เริ่มคำนึงถึงรายละเอี ยดมากขึ้น อยากจะเล่าให้ละเอียดกว่าเดิม แต่ข้อเสียคือ จะนึกถึงประโยคที่คนญี่ปุ่นใช้ อยู่ดี เลียนแบบประโยคมาหมดเลย ไม่ได้แต่งขึ้นเอง เพราะกลัวผิด แล้วความหมายเปลี่ยน
5.ในฐานะเป็นผู้ฟัง จะพยายามหาเวลาแทรกあいづちอยู่ ตลอดเวลา พอผู้พูดพูดจบประโยคปุ๊ป จะพูดขึ้นทันที เพื่อให้มีあいづちเยอะ แต่ก็กังวลนิดนึงว่า ถ้าเกิดเจอในสถานการณ์จริงๆแล้ว มีคำพวกนี้เยอะๆแล้ว คนญี่ปุ่นจะรำคาญหรือเปล่า ว่าอะไรจะแทรกชั้นเยอะขนาดนี้ และคำที่ใช้ก็จะซ้ำกันไปเรื่ อยๆ
6.เลิกใช้そしてแล้วค่ะ ไม่หลุดออกมาเลยซักครั้ง พอรู้ว่าอันนี้ใช้ผิด ตอนนี้สามารถตัดมันออกไปได้แล้ว หันมาใช้ で、それで、そのあとแทน
______________________________________
แต่หลังจากที่เรียนคาบต่อมา ได้มีการถกเถียงเรื่อง それで ว่า ไม่ใช่ว่าไม่ใช้เลย แต่ว่าใช้น้อยมาก ตอนแรกก็เข้าใจผิดว่า มันต้องห้ามใช้เลย กลัวใช้แล้วจะไม่เป็นธรรมชาติ ขอบพระคุณอาจารย์ที่ไขข้อข้องใจค่ะ
1回目に話したときはいろいろ足りてないという印象が強かったんですね。
返信削除書いたものを読ませてもらって、はじめにおっ!と私が思ったのは登場人物が変わった!ということでした。はじめはおじさん二人だったのに、それがお父さんと息子さんに!?なぜ?と思いましたが、わかりやすく伝えるための工夫だったんですね。
2回目に話したものは1回目のものよりもいろいろな要素が入れられていて、状況を想像しやすくなったように思います。“New me"ですね!
助詞、自動詞・他動詞、そうだ・ようだの使い分けなどに注意できたらもっとよくなると思いました。